วิทยากร
- อ.ดร. เอกพล ช่วงสุวนิช
(อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) - อ.ดร. ธีรวิทย์ วิไลประสิทธิ์พร
(อาจารย์ประจำสำนักวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันวิทยสิริเมธี (VISTEC))
วัน – เวลา : วันเสาร์ที่ 21 ธันวาคม 2562 เวลา 09.00 – 16.00 น.
สถานที่ : ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคารสำนักงานวิทยทรัพยากร (หอสมุดกลาง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุณสมบัติผู้สมัคร : นิสิต/นักศึกษา, คณาจารย์, วิศวกร และผู้สนใจในการนำ Machine Learning ไปประยุกต์ใช้สำหรับโจทย์ที่เกี่ยวข้องกับสัญญาณชีพ โดยผู้เรียนควรมีความรู้เกี่ยวกับภาษา python และ library numpy และ pandas
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม : 50 ท่าน
สิ่งที่ต้องเตรียมมา : คอมพิวเตอร์โน้ตบุคที่มี Google chrome เวอร์ชั่นล่าสุด และ account google
เนื้อหาการบรรยายและกำหนดการ
9.00-10.00 | Introduction to ML |
10.00-10.30 | Introduction to biosignal processing: a case study on Brain Computer Interface (BCI) using Steady State Visual Evoked Potentials (SSVEPs) for robotic control |
10.30-10.50 | Break |
10.50-12.00 | Hands-on session I |
12.00-13.00 | Lunch |
13.00-14.00 | Introduction to deep learning |
14.00-14.30 | Deep learning on SSVEP |
14.30-15.45 | Hands-on session II + break |
15.45-16.00 | Demo and closing remarks |
.
ลงทะเบียน : https://forms.gle/eVkKTxn3RKL4xJB6A
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : http://5g.chula.ac.th/
https://www.facebook.com/Chula5G
Tel. 082-5767204 (ประภาพรรณ)
086-9978238 (อาริยา)
02-2186647
#Chula5G