Implementing 5G Wireless Picture Archiving And Communication System (PACS) in Dental Clinics
วัตถุประสงค์
- เพื่อทดสอบความเร็วของการส่งภาพถ่ายรังสี ด้วยเทคโนโลยีสื่อสารไร้สาย 5G โดยเปรียบเทียบกับความเร็วในการส่งแบบเดิมที่ใช้ระบบ Lan โดยวัดจาก
- Download throughtput throughtput (ปริมาณข้อมูลที่สามารถรับและส่งในช่วงระยะเวลาหนึ่ง) หน่วยเป็น Mbps (Megabit per second Mbps (Megabit per second Mbps (Megabit per second Mbps (Megabit per second Mbps (Megabit per second หรือ เมกะบิตต่อวินาที)
- Latency ( Latency ( ความเร็วจากการใช้เวลารับส่งข้อมูล ซึ่งเป็นค่าการตอบสนองในการ รับ-ส่ง สัญญาณ โดยตรง) หน่วยเป็น ms . (milli . (milli . (milli . (milli -second/ second/ 1:1,000 1:1,000 วินาที)
- เพื่อทดสอบความพึงพอใจของผู้ใช้ภาพรังสีก่อนและหลังการติดตั้งเทคโนโลยีสื่อสารไร้สาย 5G
กรอบแนวคิดการวิจัย
วิธีการดำเนินงาน
- การศึกษานี้เป็น การวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research)
- สถานที่ศึกษาเจาะจงเลือกสถานที่ดังต่อไปนี้คือ
- คลินิกรวม ชั้น 12 และ 13 อาคารบรมนาถศรีนครินทร์
- คลินิกศัลยกรรม ชั้น 1 อาคารทันตกรรม
- คลินิกในอาคารสมเด็จย่า ๙๓ ปี ของคณะทันตแพทยศาสตร์
- กลุ่มทดลองแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
- ระยะที่ 1 กลุ่มควบคุม (ก่อนติดตั้งเทคโนโลยีสื่อสารไร้สาย 5G)
- ระยะที่ 2 กลุ่มทดลอง (ภายหลังการติดตั้งเทคโนโลยีสื่อสารไร้สาย 5G)
- เก็บข้อมูลโดยวัดจากความเร็วของการส่งภาพถ่ายรังสีก่อนและหลังการติดตั้งเทคโนโลยีสื่อสารไร้สาย 5G G วัดพารามิเตอร์ ดังต่อไปนี้คือ
- Download throughtput
- Latency
- ความพึงพอใจของทันตแพทย์ผู้ใช้
- การวิเคราะห์ข้อมูล
- เปรียบเทียบ Download throughtput ก่อนและหลังการติดตั้งเทคโนโลยีสื่อสารไร้สาย 5G
- เปรียบเทียบ Latency ก่อนและหลังการติดตั้งเทคโนโลยีสื่อสารไร้สาย 5G
- เปรียบเทียบความพึงพอใจของทันตแพทย์ผู้ใช้ ก่อนและหลังการติดตั้งเทคโนโลยีสื่อสารไร้สาย 5G